วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

ตรวจสอบสีผังเมืองง่าย ๆ ผังเมือง กทม. 2556 ร่างผังเมืองใหม่กทม


กฎหมายผังเมืองที่มีอยู่ในแต่ละจังหวัด จะบอกถึงศักยภาพในการพัฒนาว่าเราสามารถสร้างอาคารประเภทไหนได้บ้าง สร้างได้ขนาดเท่าไหร่ สมมุติว่าเราได้ที่ดินขึ้นมาแปลงหนึ่งในราคาถูก อยากจะสร้างคอนโดมิเนียมขาย แต่ที่ดินคุณตั้งอยู่ในพื้นที่สีเขียว ซึ่งเป็นที่ดินประเภทส่งเสริมด้านชนบทและเกษตรกรรม ถึงแม้ว่าจะมีโอกาสสร้างคอนโดมิเนียมได้บ้างในพื้นที่ (บางพื้นที่กำหนดให้สร้างได้เพียง 5% ของพื้นที่ทั้งหมด) แต่การพัฒนาคอนโดมิเนียมแนวสูงแบบ Hige rise สร้างผลกำไรเป็นกอบเป็นกำให้คุณคงเป็นไปไม่ได้  ก็กลับกลายเป็นว่าคุณได้จ่ายเงินซื้อที่ดินในทำเลที่มีศักยภาพน้อยไปซะแล้ว โอกาสในการพัฒนาอะไรก็จะยากขึ้น ก่อนจะซื้อที่ดิน หรือ อสังหาริมทรัพย์ใด ๆ ก็ควรตรวจสอบสีผังเมืองให้แน่ใจกันก่อนนะคะ
ประเภทสีผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ในทุกจังหวัดจะมีการกำหนดและจัดสรรผังเมืองเอาไว้ สำหรับผังเมืองกรุงเทพฯ ฉบับปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2556 และร่างผังเมืองฉบับใหม่ จะแบ่งแยกออกเป็นโซนไล่ตามสีทั้งหมด 10 ประเภท (อันที่จริงมีย่อยกว่านั้นอีก) โดยจะบอกได้ว่าแต่ละสีหมายถึงอะไร เป็นที่ดินแบบไหน อีกทั้งยังส่งผลต่อราคาที่ดินอีกด้วย ถึงแม้ว่าที่ตั้งที่ดินจะห่างกันเพียงแค่ไม่กี่เมตร ก็อาจมีศักยภาพการพัฒนาที่ต่างกันอย่างมากตามข้อกำหนดสีผังเมือง
·         พื้นที่สีเหลือง – ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
·         พื้นที่สีส้ม – ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง
·         พื้นที่สีน้ำตาล – ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
·         พื้นที่สีน้ำเงิน – ที่ดินประเภทสถาบันราชการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
·         พื้นที่สีน้ำตาลอ่อน – ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย (ในร่างผังเมืองใหม่ จะเปลี่ยนประเภทสีผังเมืองนี้เป็นพื้นที่พานิชยกรรม พ.และ พ.2)
·         พื้นที่สีแดง – ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม
·         พื้นที่สีม่วง – ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
·         พื้นที่สีเม็ดมะปราง – ที่ดินประเภทคลังสินค้า
·         พื้นที่สีขาวมีกรอบและเส้นทะแยงสีเขียว – ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม
·         พื้นที่สีเขียว – ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ในประเภทสีผังเมืองทั้งหมด 10 สีนั้น จะแบ่งการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น 31 บริเวณในร่างผังเมืองใหม่ เพิ่มขึ้นจากประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 26 บริเวณในกฎหมายผังเมืองเดิม ซึ่งหมายความว่าถึงแม้ที่ดินจะอยู่ในพื้นที่สีเดียวกัน ก็อาจมีข้อจำกัดการพัฒนาที่ทำให้สร้างอาคารบางประเภทไม่ได้นั่นเอง
วิธีตรวจสอบสีผังเมืองง่าย ๆ แค่ ขั้นตอน
1.    ดูสีผังเมืองบนแผนที่ TOOKTEE
ค้นหาทำเลบ้านของคุณจากชื่อซอย ชื่อเขต หรือชื่อโครงการบ้านของคุณ หรือซูมลงบนแผนที่ได้เลย ขณะนี้ TOOKTEE เปิดให้บริการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ใน พื้นที่ ดังนี้
·         ดูผังเมืองรวมกรุงเทพปัจจุบันได้ที่นี่ >> CLICK
·         ดูร่างผังเมืองรวมกรุงเทพฉบับใหม่ได้ที่นี่ >> CLICK 
·         ดูผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมและชุมชนแหลมฉบังได้ที่นี่ >> CLICK 
·         ดูผังเมืองรวมชุมชนบางปะกงได้ที่นี่ >> CLICK
·         ดูผังเมืองรวมชุมชนบ้านโพธิ์ได้ที่นี่ >> CLICK
ที่มาของบทความดีๆ >>https://www.tooktee.com/content/detail/1332

วันพุธที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

วิธีตรวจสอบ FAR และ OSR ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่อาคารตามประเภทสีผังเมือง

FAR และ OSR คืออะไร?
FAR และ OSR เป็นข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่อาคารตามประเภทสีผังเมืองในแต่ละพื้นที่ ส่งผลต่อศักยภาพการพัฒนา และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมาก เพราะจะส่งผลต่อขนาดพื้นที่อาคารที่สามารถสร้างได้ และทำให้โอกาสสร้างรายได้มากขึ้นหรือน้อยลงตามข้อกำหนดนี้ ซึ่งหากเราไปซื้อที่ดิน หรือ ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่สีผังเมืองที่มีข้อจำกัดทาง FAR และ OSR แล้วล่ะก็ อาจส่งผลต่อศักยภาพในการพัฒนาให้ไม่เป็นไปตามที่คุณวาดฝันไว้ก็ได้ หรือ หากซื้อมาแล้วต้องการขายต่อก็อาจจะขายได้ยาก

FAR (Floor to Area Ratio) คือ อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน 
สูตรการคำนวณ        
พื้นที่อาคารสูงสุดที่สร้างได้  = ค่า FAR X ขนาดพื้นที่ดินเป็นตารางเมตร
ตัวอย่าง ที่ดินขนาด 1 ไร่ (1,600 ตารางเมตร) อยู่ในพื้นที่ตามข้อกำหนด FAR = 6 เท่ากับว่า พื้นที่อาคารสูงสุดที่สามารถสร้างได้ คือ 6 x 3,200 = 9,600 ตารางเมตร


OSR (Open Space Ratio) คือ อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม
สูตรการคำนวณ
พื้นที่เปิดโล่งบนที่ดิน = ค่า OSR x ขนาดพื้นที่ดินเป็นตารางเมตร
ตัวอย่าง ที่ดินขนาด 1 ไร่ (1,600 ตารางเมตร) อยู่ในพื้นที่ตามข้อกำหนด OSR = 5% เท่ากับว่า จะต้องมีพื้นที่เปิดโล่งบนที่ดินโดยไม่มีหลังคาคลุม 5% x 1,600 = 80 ตารางเมตร หมายความว่าต้องเว้นที่ว่างไว้ ไม่ใช้ก่อสร้างอาคาร 80 ตารางเมตรนั่นเอง

หากท่านใดสงสัย อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) และ อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม (OSR) นั้นเป็นข้อกำหนดตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ซึ่ง ออกตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 และมาตรา 26 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 ข้อ 4  
วิธีตรวจสอบข้อกำหนด FAR และ OSR ของที่ดินเรา
หลังจากรู้แล้วว่า FAR และ OSR คืออะไร และส่งผลอย่างไรต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินของเรา ทีนี้เราจะตรวจสอบได้อย่าไรล่ะว่าที่ดินของเรามี FAR และ OSR เท่าไหร่ TOOKTEE ขอแนะนำวิธีการตรวจสอบข้อกำหนด FAR และ OSR แบบง่ายๆ คู่กับการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ TOOKTEE ง่าย ๆ แค่ 2 ขั้นตอน
  1. ค้นหาทำเลบ้านของคุณจากชื่อซอย ชื่อเขต หรือชื่อโครงการบ้านของคุณ หรือซูมลงบนแผนที่ได้เลย ขณะนี้ TOOKTEE เปิดให้บริการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ใน 4 พื้นที่ ดังนี้
  • ดูผังเมืองรวมกรุงเทพปัจจุบันได้ที่นี่ >> CLICK
  • ดูร่างผังเมืองรวมกรุงเทพฉบับใหม่ได้ที่นี่ >> CLICK 
  • ดูผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมและชุมชนแหลมฉบังได้ที่นี่ >> CLICK 
  • ดูผังเมืองรวมชุมชนบางปะกงได้ที่นี่ >> CLICK
  • ดูผังเมืองรวมชุมชนบ้านโพธิ์ได้ที่นี่ >> CLICK



  1. คลิกบนแผนที่ เพื่อเลือกที่ตั้งที่ดิน หรือบ้านของเรา 
จะเห็นสีผังเมือง เช่น ในตัวอย่างเราดูจากสีผังเมืองปัจจุบัน พบว่าบ้านของเราอยู่ในพื้นที่เขตคลองสาน ติดถนนกรุงธนบุรี มีสีผังเมืองสีน้ำตาล หรือ ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.8) FAR = 6 และ OSR =5


ไม่ยากเลยใช่ไหม? TOOKTEE หวังว่าทุกคนจะเข้าใจข้อกำหนด FAR และ OSR คืออะไร รวมทั้งเช็คข้อมูลได้ง่าย ๆ ก่อนการซื้อบ้าน ที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ เพื่อประโยชน์สูงสุดของคุณเอง ถึงแม้ว่าในปัจจุบันแผนที่สีผังเมืองของ TOOKTEE จะเปิดให้บริการใน 4 พื้นที่ แต่คนที่อยู่นอกพื้นที่เหล่านี้ก็อย่าได้เสียใจ เพราะ TOOKTEE กำลังเปิดให้บริการสีผังเมืองในจังหวัดอื่นๆ ตามมา ได้แก่ นครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ระยอง เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และภูเก็ต
หากคุณสนใจกฎหมายผังเมืองอื่นๆ TOOKTEE ขอแนะนำบทความเหล่านี้

วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

FAR และ OSR ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่อาคารตามประเภทสีผังเมือง


FAR และ OSR คืออะไร?
FAR และ OSR เป็นข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่อาคารตามประเภทสีผังเมืองในแต่ละพื้นที่ ส่งผลต่อศักยภาพการพัฒนา และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมาก เพราะจะส่งผลต่อขนาดพื้นที่อาคารที่สามารถสร้างได้ และทำให้โอกาสสร้างรายได้มากขึ้นหรือน้อยลงตามข้อกำหนดนี้ ซึ่งหากเราไปซื้อที่ดิน หรือ ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่สีผังเมืองที่มีข้อจำกัดทาง FAR และ OSR แล้วล่ะก็ อาจส่งผลต่อศักยภาพในการพัฒนาให้ไม่เป็นไปตามที่คุณวาดฝันไว้ก็ได้ หรือ หากซื้อมาแล้วต้องการขายต่อก็อาจจะขายได้ยาก

FAR (Floor to Area Ratio) คือ อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน 
สูตรการคำนวณ        
พื้นที่อาคารสูงสุดที่สร้างได้  = ค่า FAR X ขนาดพื้นที่ดินเป็นตารางเมตร
ตัวอย่าง ที่ดินขนาด 1 ไร่ (1,600 ตารางเมตร) อยู่ในพื้นที่ตามข้อกำหนด FAR = 6 เท่ากับว่า พื้นที่อาคารสูงสุดที่สามารถสร้างได้ คือ 6 x 3,200 = 9,600 ตารางเมตร


OSR (Open Space Ratio) คือ อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม
สูตรการคำนวณ
พื้นที่เปิดโล่งบนที่ดิน = ค่า OSR x ขนาดพื้นที่ดินเป็นตารางเมตร
ตัวอย่าง ที่ดินขนาด 1 ไร่ (1,600 ตารางเมตร) อยู่ในพื้นที่ตามข้อกำหนด OSR = 5% เท่ากับว่า จะต้องมีพื้นที่เปิดโล่งบนที่ดินโดยไม่มีหลังคาคลุม 5% x 1,600 = 80 ตารางเมตร หมายความว่าต้องเว้นที่ว่างไว้ ไม่ใช้ก่อสร้างอาคาร 80 ตารางเมตรนั่นเอง

หากท่านใดสงสัย อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) และ อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม (OSR) นั้นเป็นข้อกำหนดตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ซึ่ง ออกตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 และมาตรา 26 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 ข้อ 4  
วิธีตรวจสอบข้อกำหนด FAR และ OSR ของที่ดินเรา
หลังจากรู้แล้วว่า FAR และ OSR คืออะไร และส่งผลอย่างไรต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินของเรา ทีนี้เราจะตรวจสอบได้อย่าไรล่ะว่าที่ดินของเรามี FAR และ OSR เท่าไหร่ TOOKTEE ขอแนะนำวิธีการตรวจสอบข้อกำหนด FAR และ OSR แบบง่ายๆ คู่กับการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ TOOKTEE ง่าย ๆ แค่ 2 ขั้นตอน
  1. ค้นหาทำเลบ้านของคุณจากชื่อซอย ชื่อเขต หรือชื่อโครงการบ้านของคุณ หรือซูมลงบนแผนที่ได้เลย ขณะนี้ TOOKTEE เปิดให้บริการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ใน 4 พื้นที่ ดังนี้
  • ดูผังเมืองรวมกรุงเทพปัจจุบันได้ที่นี่ >> CLICK
  • ดูร่างผังเมืองรวมกรุงเทพฉบับใหม่ได้ที่นี่ >> CLICK 
  • ดูผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมและชุมชนแหลมฉบังได้ที่นี่ >> CLICK 
  • ดูผังเมืองรวมชุมชนบางปะกงได้ที่นี่ >> CLICK
  • ดูผังเมืองรวมชุมชนบ้านโพธิ์ได้ที่นี่ >> CLICK



  1. คลิกบนแผนที่ เพื่อเลือกที่ตั้งที่ดิน หรือบ้านของเรา 
จะเห็นสีผังเมือง เช่น ในตัวอย่างเราดูจากสีผังเมืองปัจจุบัน พบว่าบ้านของเราอยู่ในพื้นที่เขตคลองสาน ติดถนนกรุงธนบุรี มีสีผังเมืองสีน้ำตาล หรือ ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.8) FAR = 6 และ OSR =5


ไม่ยากเลยใช่ไหม? TOOKTEE หวังว่าทุกคนจะเข้าใจข้อกำหนด FAR และ OSR คืออะไร รวมทั้งเช็คข้อมูลได้ง่าย ๆ ก่อนการซื้อบ้าน ที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ เพื่อประโยชน์สูงสุดของคุณเอง ถึงแม้ว่าในปัจจุบันแผนที่สีผังเมืองของ TOOKTEE จะเปิดให้บริการใน 4 พื้นที่ แต่คนที่อยู่นอกพื้นที่เหล่านี้ก็อย่าได้เสียใจ เพราะ TOOKTEE กำลังเปิดให้บริการสีผังเมืองในจังหวัดอื่นๆ ตามมา ได้แก่ นครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ระยอง เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และภูเก็ต
หากคุณสนใจกฎหมายผังเมืองอื่นๆ TOOKTEE ขอแนะนำบทความเหล่านี้

FAR และ OSR คืออะไร ตรวจสอบอย่างไรว่าสร้างอาคารได้ขนาดเท่าไหร่

FAR และ OSR คืออะไร?
FAR และ OSR เป็นข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่อาคารตามประเภทสีผังเมืองในแต่ละพื้นที่ ส่งผลต่อศักยภาพการพัฒนา และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมาก เพราะจะส่งผลต่อขนาดพื้นที่อาคารที่สามารถสร้างได้ และทำให้โอกาสสร้างรายได้มากขึ้นหรือน้อยลงตามข้อกำหนดนี้ ซึ่งหากเราไปซื้อที่ดิน หรือ ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่สีผังเมืองที่มีข้อจำกัดทาง FAR และ OSR แล้วล่ะก็ อาจส่งผลต่อศักยภาพในการพัฒนาให้ไม่เป็นไปตามที่คุณวาดฝันไว้ก็ได้ หรือ หากซื้อมาแล้วต้องการขายต่อก็อาจจะขายได้ยาก

FAR (Floor to Area Ratio) คือ อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน 
สูตรการคำนวณ        
พื้นที่อาคารสูงสุดที่สร้างได้  = ค่า FAR X ขนาดพื้นที่ดินเป็นตารางเมตร
ตัวอย่าง ที่ดินขนาด 1 ไร่ (1,600 ตารางเมตร) อยู่ในพื้นที่ตามข้อกำหนด FAR = 6 เท่ากับว่า พื้นที่อาคารสูงสุดที่สามารถสร้างได้ คือ 6 x 3,200 = 9,600 ตารางเมตร

OSR (Open Space Ratio) คือ อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม
สูตรการคำนวณ
พื้นที่เปิดโล่งบนที่ดิน = ค่า OSR x ขนาดพื้นที่ดินเป็นตารางเมตร
ตัวอย่าง ที่ดินขนาด 1 ไร่ (1,600 ตารางเมตร) อยู่ในพื้นที่ตามข้อกำหนด OSR = 5% เท่ากับว่า จะต้องมีพื้นที่เปิดโล่งบนที่ดินโดยไม่มีหลังคาคลุม 5% x 1,600 = 80 ตารางเมตร หมายความว่าต้องเว้นที่ว่างไว้ ไม่ใช้ก่อสร้างอาคาร 80 ตารางเมตรนั่นเอง
หากท่านใดสงสัย อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) และ อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม (OSR) นั้นเป็นข้อกำหนดตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ซึ่ง ออกตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 และมาตรา 26 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 ข้อ 4  
วิธีตรวจสอบข้อกำหนด FAR และ OSR ของที่ดินเรา
หลังจากรู้แล้วว่า FAR และ OSR คืออะไร และส่งผลอย่างไรต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินของเรา ทีนี้เราจะตรวจสอบได้อย่าไรล่ะว่าที่ดินของเรามี FAR และ OSR เท่าไหร่ TOOKTEE ขอแนะนำวิธีการตรวจสอบข้อกำหนด FAR และ OSR แบบง่ายๆ คู่กับการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ TOOKTEE ง่าย ๆ แค่ 2 ขั้นตอน
  1. ค้นหาทำเลบ้านของคุณจากชื่อซอย ชื่อเขต หรือชื่อโครงการบ้านของคุณ หรือซูมลงบนแผนที่ได้เลย ขณะนี้ TOOKTEE เปิดให้บริการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ใน 4 พื้นที่ ดังนี้
  • ดูผังเมืองรวมกรุงเทพปัจจุบันได้ที่นี่ >> CLICK
  • ดูร่างผังเมืองรวมกรุงเทพฉบับใหม่ได้ที่นี่ >> CLICK 
  • ดูผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมและชุมชนแหลมฉบังได้ที่นี่ >> CLICK 
  • ดูผังเมืองรวมชุมชนบางปะกงได้ที่นี่ >> CLICK
  • ดูผังเมืองรวมชุมชนบ้านโพธิ์ได้ที่นี่ >> CLICK


  1. คลิกบนแผนที่ เพื่อเลือกที่ตั้งที่ดิน หรือบ้านของเรา 
จะเห็นสีผังเมือง เช่น ในตัวอย่างเราดูจากสีผังเมืองปัจจุบัน พบว่าบ้านของเราอยู่ในพื้นที่เขตคลองสาน ติดถนนกรุงธนบุรี มีสีผังเมืองสีน้ำตาล หรือ ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.8) FAR = 6 และ OSR =5

ไม่ยากเลยใช่ไหม? TOOKTEE หวังว่าทุกคนจะเข้าใจข้อกำหนด FAR และ OSR คืออะไร รวมทั้งเช็คข้อมูลได้ง่าย ๆ ก่อนการซื้อบ้าน ที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ เพื่อประโยชน์สูงสุดของคุณเอง ถึงแม้ว่าในปัจจุบันแผนที่สีผังเมืองของ TOOKTEE จะเปิดให้บริการใน 4 พื้นที่ แต่คนที่อยู่นอกพื้นที่เหล่านี้ก็อย่าได้เสียใจ เพราะ TOOKTEE กำลังเปิดให้บริการสีผังเมืองในจังหวัดอื่นๆ ตามมา ได้แก่ นครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ระยอง เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และภูเก็ต
หากคุณสนใจกฎหมายผังเมืองอื่นๆ TOOKTEE ขอแนะนำบทความเหล่านี้

วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

ประเภทสีผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตรวจสอบสีผังเมือง ร่างผังเมืองใหม่กทม

กฎหมายผังเมืองที่มีอยู่ในแต่ละจังหวัด จะบอกถึงศักยภาพในการพัฒนาว่าเราสามารถสร้างอาคารประเภทไหนได้บ้าง สร้างได้ขนาดเท่าไหร่ สมมุติว่าเราได้ที่ดินขึ้นมาแปลงหนึ่งในราคาถูก อยากจะสร้างคอนโดมิเนียมขาย แต่ที่ดินคุณตั้งอยู่ในพื้นที่สีเขียว ซึ่งเป็นที่ดินประเภทส่งเสริมด้านชนบทและเกษตรกรรม ถึงแม้ว่าจะมีโอกาสสร้างคอนโดมิเนียมได้บ้างในพื้นที่ (บางพื้นที่กำหนดให้สร้างได้เพียง 5% ของพื้นที่ทั้งหมด) แต่การพัฒนาคอนโดมิเนียมแนวสูงแบบ Hige rise สร้างผลกำไรเป็นกอบเป็นกำให้คุณคงเป็นไปไม่ได้  ก็กลับกลายเป็นว่าคุณได้จ่ายเงินซื้อที่ดินในทำเลที่มีศักยภาพน้อยไปซะแล้ว โอกาสในการพัฒนาอะไรก็จะยากขึ้น ก่อนจะซื้อที่ดิน หรือ อสังหาริมทรัพย์ใด ๆ ก็ควรตรวจสอบสีผังเมืองให้แน่ใจกันก่อนนะคะ
ประเภทสีผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ในทุกจังหวัดจะมีการกำหนดและจัดสรรผังเมืองเอาไว้ สำหรับผังเมืองกรุงเทพฯ ฉบับปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2556 และร่างผังเมืองฉบับใหม่ จะแบ่งแยกออกเป็นโซนไล่ตามสีทั้งหมด 10 ประเภท (อันที่จริงมีย่อยกว่านั้นอีก) โดยจะบอกได้ว่าแต่ละสีหมายถึงอะไร เป็นที่ดินแบบไหน อีกทั้งยังส่งผลต่อราคาที่ดินอีกด้วย ถึงแม้ว่าที่ตั้งที่ดินจะห่างกันเพียงแค่ไม่กี่เมตร ก็อาจมีศักยภาพการพัฒนาที่ต่างกันอย่างมากตามข้อกำหนดสีผังเมือง
·         พื้นที่สีเหลือง – ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
·         พื้นที่สีส้ม – ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง
·         พื้นที่สีน้ำตาล – ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
·         พื้นที่สีน้ำเงิน – ที่ดินประเภทสถาบันราชการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
·         พื้นที่สีน้ำตาลอ่อน – ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย (ในร่างผังเมืองใหม่ จะเปลี่ยนประเภทสีผังเมืองนี้เป็นพื้นที่พานิชยกรรม พ.และ พ.2)
·         พื้นที่สีแดง – ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม
·         พื้นที่สีม่วง – ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
·         พื้นที่สีเม็ดมะปราง – ที่ดินประเภทคลังสินค้า
·         พื้นที่สีขาวมีกรอบและเส้นทะแยงสีเขียว – ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม
·         พื้นที่สีเขียว – ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ในประเภทสีผังเมืองทั้งหมด 10 สีนั้น จะแบ่งการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น 31 บริเวณในร่างผังเมืองใหม่ เพิ่มขึ้นจากประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 26 บริเวณในกฎหมายผังเมืองเดิม ซึ่งหมายความว่าถึงแม้ที่ดินจะอยู่ในพื้นที่สีเดียวกัน ก็อาจมีข้อจำกัดการพัฒนาที่ทำให้สร้างอาคารบางประเภทไม่ได้นั่นเอง
ดูสีผังเมืองบนแผนที่ TOOKTEE
ค้นหาทำเลบ้านของคุณจากชื่อซอย ชื่อเขต หรือชื่อโครงการบ้านของคุณ หรือซูมลงบนแผนที่ได้เลย ขณะนี้ TOOKTEE เปิดให้บริการตรวจสอบสีผังเมืองบนแผนที่ใน พื้นที่ ดังนี้
·         ดูผังเมืองรวมกรุงเทพปัจจุบันได้ที่นี่ >> CLICK
·         ดูร่างผังเมืองรวมกรุงเทพฉบับใหม่ได้ที่นี่ >> CLICK 
·         ดูผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมและชุมชนแหลมฉบังได้ที่นี่ >> CLICK 
·         ดูผังเมืองรวมชุมชนบางปะกงได้ที่นี่ >> CLICK
·         ดูผังเมืองรวมชุมชนบ้านโพธิ์ได้ที่นี่ >> CLICK